การ สร้าง และ หา คุณภาพ ของ เครื่องมือ

ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่เรียกว่า แบบเดี่ยว (หนึ่งคน) หรือ 1:1 หมายถึง ทดลองใช้นวัตกรรมกับนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วย เก่ง ปานกลางและอ่อน อย่างละ 1 คน แล้วคำนวณหา E 1 /E 2 (ตามนัยที่ 1 หรือ 2) แล้วนำมาปรับปรุง 2. ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่เรียกว่าแบบกลุ่ม หรือ 1:10 หมายถึง ทดลองใช้นวัตกรรมกับนักเรียนประมาณ 5-10 คน ที่ประกอบด้วย เก่ง ปานกลางและอ่อนคละกันไปในจำนวนเท่า ๆ กัน แล้วคำนวณหา E 1 /E 2 (ตามนัยที่ 1 หรือ 2) แล้วนำมาปรับปรุง 3. ทดลองกับกลุ่มใหญ่ที่เรียกว่าภาคสนาม หรือ 1 ห้องเรียน หมายถึง ทดลองใช้นวัตกรรมกับนักเรียน 1 ห้องเรียน แล้วคำนวณหา E 1 /E 2 (ตามนัยที่ 1 หรือ 2) แล้วนำผลการวิเคราะห์เทียบกับเกณฑ์ ถ้าต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 2. 5 ก็ยอมรับได้ ตัวอย่าง การหาประสิทธิภาพหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง ท้องถิ่นของเรา เล่มที่ 1 เรื่อง สภาพที่ตั้ง มีแบบทดสอบประจำเรื่อง จำนวน 10 คะแนน เล่มที่ 2 เรื่อง การคมนาคม มีแบบทดสอบประจำเรื่อง จำนวน 10 คะแนน เล่มที่ 3 เรื่อง วัฒนธรรมประเพณี มีแบบทดสอบประจำเรื่อง จำนวน 15 คะแนน เล่มที่ 5 เรื่อง การจัดการศึกษา มีแบบทดสอบประจำเรื่อง จำนวน 10 คะแนน วิธีการวิเคราะห์ตามนัยที่ 1 (จำนวนร้อยละคนที่ผ่าน เกณฑ์ความพึงพอใจ ร้อยละ 70) การคำนวณหา E 1 / E 2 ดังนั้นสื่อมีประสิทธิภาพเท่ากับ 71.

การสร้างเครื่องมือการวิจัย | Psychology

ความเชื่อมั่น (Reliability) อาจเรียกว่าความเที่ยงเป็นการแสดงถึงความคงที่แน่นอนใน การวัด เมื่อวัดสิ่งเดียวกันค่าของการวัดแต่ละครั้งควรคงที่สม่ำเสมอ เครื่องมือที่ดีต้องวัดในสิ่งหนึ่ง สิ่งใดแล้วได้ผลคงที่ คงเส้นคงวา จึงเชื่อมั่นในค่าที่ได้ เครื่องชั่งน้ำหนักที่มีความเชื่อมั่นสูงเมื่อชั่ง ของสิ่งหนึ่งกี่ครั้งก็ตามค่า(น้ำหนัก)ที่ได้ย่อมไม่แตกต่างกัน การทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือทำได้หลายวิธี เช่นวิธีการทดสอบซ้ำ (ใช้เครื่องมือ ชุดเดียววัดค่าซ้ำหลาย ๆ ครั้ง) วิธีการทดสอบคู่ขนาน วิธีทดสอบแบบแบ่งครึ่งเครื่องมือและวิธีการ หาความสัมพันธ์ภายใน เป็นต้น 3. ความเป็นปรนัย (Objectivity) บางครั้งเรียกว่าความชัดเจน หมายความว่าข้อคำถาม ต่าง ๆ ต้องชัดเจนวัดประเด็นเดียวไม่มีความลำเอียง ถ้าเป็นแบบสอบถามเมื่ออ่านคำถามแล้วต้อง เข้าใจตรงกับสิ่งที่ต้องการจะวัด เช่นถ้าใช้เครื่องมือวัดความชอบโดยใช้แบบสอบถามปลายเปิดเป็น ความเรียง การตรวจเพื่อให้ค่าความชอบจะมีความเป็นปรนัยต่ำกว่าการใช้แบบสอบถามที่ กำหนดค่าให้ตอบ หรือ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบสอบถามแบบให้ตอบเป็นความเรียงจะ ให้ข้อมูลที่มีความเป็นอัตนัยสูง ความเป็นปรนัยของเครื่องมือพิจารณาจาก 3.

แบบสอบถาม ( questionnaire) ตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรง ( validity) ด้วยการใช้คณะบุคคล อาจจะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาบวกกับผู้ทรงคุณวุฒิ ให้มีจำนวนเป็นเลขคี่ นิยมใช้ 5 คน เพื่อมาให้คะแนนเป็นรายข้อคำถาม ดูความครอบคลุมในประเด็นคำถามการวิจัย ( comprehensiveness) และดูเนื้อหาภาษา ( language) ว่าทำให้ผู้ตอบเข้าใจตรงกันหรือไม่ ข้อไหนผ่านให้คะแนน 1 ไม่ผ่านให้คะแนน -1 ไม่แน่จะให้คะแนน 0 เอาผลคะแนนแต่ละข้อจากผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ได้เกิน 0. 5 ถือว่าข้อในใช้ได้ ถ้าไม่ถึงให้ตัดข้อนั้นทิ้งไป เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามและวัตถุประสงค์ ( index of item-objective congruence: IOC) นอกจากหา validity แล้ว ยังต้องหา reliability หรือค่าความเชื่อมั่น ด้วยการนำแบบสอบถามไปทดสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายคลึงแต่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างการวิจัย จำนวนที่นิยมคือ 30 คน แล้วใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ( alph-coefficient) วิธีการของครอนบาค ( Cronbach) คะแนนแต่ละข้อต้องไม่ต่ำกว่า 0. 70 2.

หลวง พ่อ ทวด รุ่น ปลดหนี้

นำสื่อ/นวัตกรรมที่สร้างขึ้น พร้อมวัตถุประสงค์การวิจัย/ศึกษา พร้อมนิยามศัพท์และแบบแสดงความคิดเห็น นำเสนอผู้เชี่ยวชาญ เช่น แบบแสดงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อ …. คำชี้แจง: ให้ท่านผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อ………. โดยใส่เครื่องหมาย / ลงในช่องทางขวามือของรายการที่กำหนด ว่ามีความเหมาะสม สอดคล้อง กับแนวทางการแก้ปัญหาที่กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์การวิจัยหรือไม่ พร้อมกับเขียนข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ในการวิจัยด้วย 2. นำรายการที่ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นมาให้ค่าน้ำหนักคะแนน ถ้าเหมาะสม ได้ค่าน้ำหนัก +1 ถ้าไม่แน่ใจ ได้ค่าน้ำหนัก 0 และถ้าไม่เหมาะสม ได้ค่าน้ำหนัก –1 3. บันทึกค่าน้ำหนักคะแนนแต่ละคน และทำการวิเคราะห์หาค่า IOC ดังตัวอย่างแบบบันทึก จากผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ดังนี้ หมายเหตุ ค่า IOC ตั้งแต่ 0.

ส เป ค เกม world war z

วิจัยนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย / วิจัยในชั้นเรียนระดับปฐมวัย

การได้มาของเครื่องมือวิจัย มี 3 ช่องทางครับ - ผู้วิจัยสร้างเองทั้งหมดตามนิยามศัพท์เฉพาะ เนื่องจากตัวแปรตามที่สนใจศึกษายังไม่มีใครศึกษา - ผู้วิจัยสร้างเองโดยใช้วิธีปรับปรุงจากเครื่องมือของผู้วิจัยอื่น ที่วัดตัวแปรตัวเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน - ผู้ วิจัยใช้เครื่องมือของผู้วิจัยอื่นทั้งฉบับ เนื่องจากวัดได้ตรงนิยามและมีคุณภาพดี ลักษณะกลุ่มเป้าหมายเป็นลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันมาก ค. คุณภาพของเครื่องมือวิจัยที่ดี มี 4 ข้อครับ - ความเที่ยงหรือความตรง (Validity) คือ เครื่องมือที่วัดได้ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด โดยผู้เชี่ยวชาญไม่ต่ำกว่า 3 คน ( เป็นเลขคี่เพื่อการสรุปผล) มีข้อแนะนำ 2 ข้อ ดังนี้ครับ 1. กำหนดสัดส่วนของความเห็นที่สอดคล้องกัน เช่น 2 ใน 3 หรือ 3 ใน 5 2. หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of congruence) IOC ข้อที่ใช้ได้ต้องมีค่า IOC ตั้งแต่ 0. 5 ขึ้นไป - อำนาจจำแนก (Discrimination) - ความเชื่อมั่นหรือความเชื่อถือได้ (Reliability) - ความยากง่าย (Difficulty) กรณีแบบทดสอบ ง. วิธีสร้างเครื่องมือการวิจัย มี 8 ขั้นตอนครับ วิเคราะห์ความมุ่งหมาย / วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพิจารณาตัวแปรทั้งหมดที่ต้องศึกษา ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ต้องศึกษา โดยเฉพาะตัวแปรตาม 3.

  • ขาย คอน โด rich park
  • เหรียญเจ้าสัวโภคทรัพย์ พระเครื่อง หลวงพ่อตัด วัดชายนา เนื้อทองแดง น่าเก็บก่อนแพงครับ
  • อาการ เป็น ช็อกโกแลต ซี ส
  • บทที่ 2 การสร้างเครื่องมือวิจัย - Classjaroonsak
  • เผยสเปก PC สำหรับการเล่นเกม Godfall อย่างเป็นทางการ | GamingDose - ข่าวเกม รีวิวเกม บทความเกม เกมคอม เกมคอนโซล เกม PS4 เกมมือถือ
  • ย้ายข้อมูล iphone ไป iphone 12 price
  • สอนโหลด PES 2020 PC ตัวเต็มไฟล์เดียวพร้อม CRACK+Evoweb Patch 5.0 เล่นได้ 100% เพียง 3 ขั้นตอนจบ
  • จั ส มิ น เร ส ซิ เดน ซ์ สุราษฎร์ธานี
  • วิเคราะห์บอลคู่ ลิกเตนสไตน์ พบ เยอรมัน - 17 October 2021
  • ยาง ติด รถ ไทร ทัน 2017
  • Tamron 17 50 f2 8 มือ สอง battery
  • บริษัท เอเซีย เม ทั ล จำกัด มหาชน

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย ( assessment of research tools) เครื่องมือการเก็บข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณคือแบบสอบถาม ( questionnaire) ที่เป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า ( rating scale) ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพสองขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกเป็นการทดสอบความเที่ยงตรงถูกต้อง ( validity) ใช้คณะบุคคลเป็นผู้ตรวจสอบ หรือที่เรียกว่าการใช้ IOC (index of item-objective congruence: IOC การหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามและวัตถุประสงค์) ขั้นตอนที่สองเป็นการตรวจสอบความเชื่อมั่น ( reliability) ใช้สถิติหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ( alph-coefficient) อ่านข้างล่าง... การเขียนงานนิพนธ์ไม่ว่าจะเป็นระดับ ป. โท หรือ ป. เอก ในบทที่ 3 ที่ว่าด้วยระเบียบวิธีวิจัย ( research methodology) และหรือในเค้าโครงการวิจัย ( research proposal) มีหัวข้อหนึ่งที่กำหนดไว้ให้นักศึกษาเขียนคือ "การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ" การตรวจสอบนี้มีทั้งเครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณที่เป็นแบบสอบถาม ( questionnaire) และเครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพที่เป็นแบบสัมภาษณ์ ( interview form) หรือ แบบบันทึกการอภิปรายกลุ่ม ( focus group discusssion form) นั้นมีวิธีการตรวจสอบดังนี้ 1.

หาค่าดัชนีความสอดคล้อง ( Index of congruence) IOC ข้อที่ใช้ได้ต้องมีค่า IOC ตั้งแต่ 0. 5 ขึ้นไป ค. อำนาจจำแนก ( Discrimination) ง. ความเชื่อมั่นหรือความเชื่อถือได้ ( Reliability) จ. ความยากง่าย ( Difficulty) กรณีแบบทดสอบ 7. 4 วิธีสร้างเครื่องมือการวิจัย ก. วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพิจารณาตัวแปรที่ต้องศึกษา ข. ค. ให้คำจำกัดความของตัวแปรโดยเฉพาะตัวแปรตาม ในรูปของนิยามปฏิบัติการ ( Operation definition) ง. เขียนข้อคำถามให้สอดคล้องกับนิยามปฏิบัติการ จ. หาคุณภาพด้านความเที่ยงตรง โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ฉ. ทดลองใช้ ( Try-out ครั้งที่ 1) เพื่อหาคุณภาพรายข้อ เช่นอำนาจจำแนก ช. ทดลองใช้ครั้งที่ 2 เพื่อหาคุณภาพทั้งฉบับ ได้แก่ ความเชื่อมั่น ซ. ปรับปรุงครั้งสุดท้ายให้สมบูรณ์ งรายละเอียดของขั้นตอนการออกแบบสร้างเครื่องมือ ที่แสดงในภาพที่ 1-7 ภาพที่ 1-7 แสดงขั้นตอนการดำเนินการสร้างเครื่องมือศึกษาวิจัย ที่มา ค้นเมื่อ 22/11/2557

ปฏิบัติได้จริง (Practical) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดี ควรใช้ได้อย่าง สะดวก ไม่ยุ่งยาก เหมาะกับงานวิจัยตามสภาพ มีความคล่องตัวและสามารถปรับให้เข้ากับ สถานการณ์ต่าง ๆได้ เครื่องมือบางประเภทมีความเที่ยงตรงสูงแต่มีความคล่องตัวน้อย นำไปใช้ใน สภาพจริงไม่ได้ ก็ต้องถือว่าไม่สามารถปฏิบัติได้จริง การนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้ตามสภาพ จริงนั้น ควรพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลในระดับที่ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย 6. ยุติธรรม (Fairness) เครื่องมือที่ดี ย่อมต้องให้โอกาสทุกหน่วยที่ให้ข้อมูลเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะเครื่องมือที่ใช้กับคน ถ้าวัดตัวแปรได้อย่างยุติธรรม ค่าของตัวแปรควรเป็นอิสระจาก ศาสนา หรือชนชั้นทางสังคม เป็นต้น 7. ประสิทธิภาพ (Efficiency) เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเป็นเครื่องมือที่วัดค่าตัวแปรได้ ตามวัตถุประสงค์ ประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่าย ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือไม่ได้หมายความว่าจะต้องตรวจสอบในทุกประเด็น หลาย ๆ ประเด็นไม่ได้มีผลโดยตรงต่อความถูกต้องในการวัดค่าตัวแปรในการวิจัย แนวทาง พิจารณาอย่างง่าย คือ อย่างน้อยที่สุดควรตรวจสอบว่าเครื่องมือนั้นสามารถวัดตัวแปรได้อย่าง ถูกต้อง เพียงพอที่จะทำให้ผลการวิจัยเป็นที่ยอมรับและใช้ประโยชน์ได้

ให้คำจำกัดความของตัวแปรโดยเฉพาะตัวแปรตาม ในรูปของนิยามปฏิบัติการ (Operation definition) 4. เขียนข้อคำถามให้สอดคล้องกับนิยามปฏิบัติการ 5. หาคุณภาพด้านความเที่ยงตรง โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ 6. ทดลองใช้ (Try-out ครั้งที่ 1) เพื่อหาคุณภาพรายข้อ เช่นอำนาจจำแนก 7. ทดลองใช้ครั้งที่ 2 เพื่อหาคุณภาพทั้งฉบับ ได้แก่ ความเชื่อมั่น 8. ปรับปรุงครั้งสุดท้ายให้สมบูรณ์ (ที่มา: เทคนิคการเขียนเค้าโครงงานวิจัย, ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2549) เอาหละครับ ทีนี้ ลองดูการออกแบบเครื่องมือที่ครูแมนเขียนไว้ใน บว. 53 โครงร่างงานวิจัยที่ส่งบัณฑิตวิทยาลัยดูนะครับเปรียบเทียบกับแนวทางที่ค้นคว้ามานะครับ จะพบว่า ใกล้เคียงกันมากนะครับ 7. 3. 1 วิธีการเลือกเครื่องมือการวิจัย ก. ตัวแปรตามประเภท "ความคิดเห็น, ทัศนะ" ใช้แบบสอบถาม ( Questionnaire) แบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating scale) 5 ระดับ ข. ตัวแปรตามประเภท "ความพึงพอใจ" ใช้แบบสอบถาม ( Questionnaire) แบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating scale) 5 ระดับ 7. 2 การได้มาของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยสร้างเองโดยใช้วิธีปรับปรุงจากเครื่องมือของผู้วิจัยอื่น 7. 3 คุณภาพของเครื่องมือวิจัยที่ดี ก. ความเที่ยงหรือความตรง ( Validity) คือ เครื่องมือที่วัดได้ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด โดยผู้เชี่ยวชาญไม่ต่ำกว่า 15 คน (เป็นเลขคี่เพื่อการสรุปผล) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือผู้เชี่ยวชาญด้านรูปแบบ ด้านชุดฝึกอบรม และด้านเครื่องมือเก็บข้อมูลวิจัย เป็นต้น ข.

43/71. 43 วิธีการวิเคราะห์ตามนัยที่ 2 (คะแนนเฉลี่ยร้อยละ) ดังนั้นสื่อมีประสิทธิภาพเท่ากับ 76. 19/78. 43 ที่มา -ชุดฝึกปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับครูวิทยาศาสตร์. (8 เมษายน 2550). –

  1. ร้าน อาหาร แหลม พัน วา น้ํา
Friday, 12-Nov-21 00:28:06 UTC