การ ประเมิน ผล การ ทำงาน

  1. การ ประเมิน ผล การ ทํางาน excel
  2. การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน ของ ป ต ท
  3. การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน ของ พนักงาน อบต

Feedback Session: อันนี้มุ่งเน้นเรื่องของผลจากการประเมินที่จะสามารถให้ผู้ถูกประเมินนำไปปรับปรุงต่อได้ 2. Compensation & Promotions Session: อันนี้จะพูดเรื่องการโปรโมต เงินเดือน ซึ่งทั้งสอง Session นี้ อาจจะเกิดขึ้นห่างกันได้ถึงหนึ่งเดือนเลยทีเดียว ผมคิดว่าสิ่งที่เราได้เรียนรู้จาก Google ก็คือ การคิดที่มีระบบระเบียบ ความชัดเจน ยุติธรรม และการนำข้อมูลจำนวนมากมาประกอบกันนั้น ทำให้การประเมิน ซึ่งปกติเป็นเรื่องที่ไม่มีใครอยากทำ เป็นเรื่องที่น่าสนใจและสนุกที่จะทำได้ครับ พิสูจน์อักษร: ภาวิกา ขันติศรีสกุล

การ ประเมิน ผล การ ทํางาน excel

1 ปรากฏว่าไม่เวิร์ก เลยกลับมาใช้เฉพาะตัวเลขเต็ม 1, 2, 3, 4, 5 เท่านั้น การชี้แจงผลลัพทธ์ เป็นอีกขั้นตอนที่สำคัญมากๆ ซึ่งอันนี้ผมคิดว่า Google ทำได้ยอดเยี่ยมมาก ผมขอยกเอาพูดของ Prasad Setty ซึ่งอยู่ในหน่วยงานที่ชื่อว่า Google's People and Innovation Lab ซึ่งได้กล่าวเกี่ยวกับการส่งมอบผลลัพธ์จากการประเมินไว้ได้ อย่างโดนใจมากๆ ว่า "Traditional performance management systems make a big mistake. They combine two things that should be completely separate: performance evaluation and people development. Evaluation is necessary to distribute finite resources, like salary increases or bonus dollars. Development is just as necessary for so people grow and improve. " พูดง่ายๆ คือ ควรแยกกันระหว่างฟีดแบ็ก ซึ่งมีความตั้งใจให้คนของเราเติบโตและมีพัฒนาการ กับการแจ้งเรื่องผลประโยชน์ เช่น โบนัส เงินเดือน และตำแหน่ง เพราะถ้าทำพร้อมกัน ธรรมชาติของมนุษย์จะไปโฟกัสเรื่องเงินเดือนกับโบนัส โดยอาจจะ 'ไม่ได้ยิน' เรื่องฟีดแบ็กที่พวกเขาควรจะนำไปปรับปรุงต่อไป ดังนั้นที่ Google หลังจากผลการประเมินออกแล้ว จะมี Output Session เกิดขึ้น 2 อัน คือ 1.

การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน ของ ป ต ท

การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน ของ ป ต ท

การ ประเมิน ผล การ ปฏิบัติ งาน ของ พนักงาน อบต

Results Attained คือผลงานของพนักงานคนนั้น (What) 2. Behavior คือวิธีการ (How) ที่พนักงานคนนั้นทำเพื่อให้ได้ผลงานออกมา Criteria ของ Google จะประกอบไปด้วย 6 อย่างด้วยกัน ได้แก่ 1. Googleyness: การยึดมั่นกับ Value ของ Google ซึ่งจะดูได้จากวิธีการ (How) ของการทำงาน 2. Problem Solving: ทักษะในการแก้ปัญหา 3. Execution: การสามารถส่งมอบงานชั้นเลิศได้ ทำงานได้ดีโดยไม่ต้องจับมือทำกันไปทุกขั้นตอน บอกว่าจะเอาอะไรพอ 4. Thought Leadership: มีความเก่งเฉพาะทางที่คนอื่นถ้าอยากได้เรื่องนี้จะต้องนึกถึงคนนี้ ยกตัวอย่างเช่น ที่ทำงานผมจะมีคนที่เขียนพวก Copy ต่างๆ เก่งมาก เวลาใครอยากได้ภาษาที่สละสลวยมากๆ ต้องไปหาคนนี้ เป็นต้น 5. Leadership หรือ Emerging Leadership: อันนี้คือการแสดงคุณสมบัติการเป็นผู้นำ อาทิ เสนอตัวในการนำโปรเจกต์ต่างๆ, มีความสามารถในการมองเห็นเรื่องต่างๆ ล่วงหน้า และสามารถวางแผนแก้ไขไว้ได้ มีความเป็นเจ้าของ รับผิดชอบงานที่เป็นงานของตัวเองได้ สามารถรวมพลังของคนหลายๆ คนให้มาร่วมทำในจุดหมายเดียวกันได้ ฯลฯ 6. Presence: ในองค์กรขนาดใหญ่อย่าง Google ความสามารถของพนักงานที่จะทำให้เสียงของตัวเองได้รับการได้ยินนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งอาจจะหมายรวมถึงตัวผลงานเองและวิธีการนำเสนอผลงานด้วย ผมลองปรับมาเป็นแบบไทยๆ ที่ดูจะเข้ากับบริบทใกล้ตัวมากขึ้น เช่น Criteria ที่ถูกปรับแล้วจะประกอบด้วย 1.

Achieve Result: ความสามารถในการทำงานให้สำเร็จ โดยเน้นไปที่ Output ของงาน 2. Communications: ความถูกต้อง ความเร็ว และความยากง่ายในการสื่อสารกันของบุคคล ทั้ง In และ Out 3. Ownership: ความเป็นเจ้าของและรับผิดชอบกับงานของตัวเอง 4. Dependable: ความเชื่อใจเวลามอบหมายงานให้ ว่างานจะเสร็จด้วยคุณภาพและเวลาที่ตกลงกันไว้แค่ไหน 5. Team Work: ความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถดึงเอาศักยภาพของผู้ร่วมทีมออกมา โดยคงบรรยากาศการทำงานที่ดีไว้ 6. Leadership: คุณสมบัติการเป็นผู้นำ ได้แก่ มีความคิดริเริ่ม กล้าตัดสินใจ วางแผนดี มีวิสัยทัศน์ และรักษาคำพูด กระบวนการ Evaluation พอเราเข้าใจ Criteria แล้ว ต่อไปก็จะเป็นกระบวนการ Evaluation ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ Self Evaluation, 360 Degree Feedback และ Calibration 1.

  • การ ประเมิน ผล การ ทํางาน photoshop
  • การ ประเมิน ผล การ ทํางาน youtube
  • การ ประเมิน ผล การ ทํางาน excel
Thursday, 11-Nov-21 20:10:32 UTC